top of page
รูปภาพนักเขียน.doc team

เครื่องปั้นดินเผาหมู่บ้านกวน : ภูมิปัญญาชาวบ้านที่รอวันตาย?


หมู่บ้านกวนเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในตำบลหารแก้ว อ.หางดง ที่นี่มีวิสาหกิจชุมชนที่ทำเกี่ยวกับเครื่องปั้นดินเผาแบบโบราณ ที่ได้สืบทอดกันมายาวนานจวบจน ณ ปัจจุบันนี้ โดยจุดเด่นของเครื่องปั้นดินเผาของที่นี้นั้นคื่อ ยังคงใช้วิธีแบบโบราณไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการใช้แป้นที่หมุนด้วยมือ การใช้ดินเหนียวผสมทรายมาทำ รวมไปถึงการปั้นแบบแยกเป็นส่วนๆ * ร่าง



ผู้คนที่นี้นั้น ฝ่ายชายจะไปทำสล่าสีน้ำตามวัดต่าง ๆ ส่วนฝ่ายหญิงก็จะมารวมตัวกันปั้นเครื่องปั้นดินเผา เพื่อนำไปขายให้แก่พ่อค้าที่เขารับซื้อ และนำรายได้จากการค้าขายมาแบ่งกับคนในกลุ่ม *ร่าง

บทสัมภาษณ์ป้าอร (เป็นคุณป้าที่ทำงานเครื่องปั้นมาตั้งแต่เด็ก) (ตั้งแต่ที่มา สภาพแวดล้อม สาเหตุที่ยังอยู่กับงานปั้น รวมไปถึงสาเหตุที่ไม่มีคนรุ่นใหม่มาทำงานนี้)


*บทสัมภาษณ์หัวหน้ากลุ่มวิสาหกิจ(ตั้งแต่ที่มา สภาพแวดล้อมตั้งแต่เมื่อก่อนจนถึงปัจจุบัน รายได้ รวมไปถึงสาเหตุที่ไม่มีคนรุ่นใหม่มาทำงานนี้)

แต่ระหว่างที่เดินทางไปกลับนั้น ได้พบกับร้านขายเครื่องปั้นดินเผาอีกร้าน ซึ่งเป็นเครื่องปั้นดินเผาที่เป็นแบบสำเร็จ ด้วยความสงสัยที่มีต่อร้านนี้ นั่นก็เพราะ ณ ตอนนี้ ในหมู่บ้านกวนรวมไปถึงละแวกนั้น ไม่ได้ทำงานเกี่ยวกับงานปั้นกันแล้ว จึงมีหมู่บ้านกวนที่ยังทำเครื่องปั้นดินเผาอยู่ ณ ตอนนี้ แต่กลับมีร้านขายเครื่องปั้นดินเผาสำเร็จมาตั้งร้านขายใกล้ ๆ กัน จึงทำผมเริ่มสอบถามข้อมูล


จนได้เจอกับเจ้าของร้านคือคุณแม่อำพร หญิงชราที่เป็นเจ้าของร้าน โดยได้สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับร้าน รวมไปถึงว่ามีความเกี่ยวข้องการกลุ่มวิสาหกิจหรือไม่ ยิ่งไปกว่านั้นคุณแม่อำพรได้เล่าเรื่องราวของหมู่บ้านแห่งนี้ในสมัยก่อน


ดู 45 ครั้ง0 ความคิดเห็น
bottom of page